ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา - AN OVERVIEW

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา - An Overview

ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา - An Overview

Blog Article

จากการขาดแคลนแรงงานฝีมือ และความต้องการพัฒนาประเทศ จึงทำให้สถานศึกษาหาแนวทางการแก้ไข เพื่อทำให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการขององค์กรต่างๆ โดยได้มีการพัฒนาหลักสูตร คุณภาพ และการบูรณาการ เพื่อเสริมสร้างคุณภาพของผู้เรียน 

การแก้ปัญหาที่ “มูลนิธิยุวพัฒน์” และเครือข่ายพยายามทำมาอย่างต่อเนื่อง คือ ให้ทุนการศึกษา เพื่อช่วยเหลือเด็กนักเรียนที่มีฐานะทางครอบครัวยากจนพิเศษ และเด็กนักเรียนเหล่านั้นมีความเสี่ยงที่จะไม่ได้เรียนต่อหรือเสี่ยงที่จะลาออกกลางคัน ใช้เกณฑ์การคัดเลือกโดยครอบครัวต้องสนับสนุนให้เด็กเรียนต่อในระดับชั้นมัธยม (ม.

งบประมาณ ทุกวันนี้การจัดสรรงบประมาณแก่โรงเรียนเป็นการให้ตามรายหัว ถ้ามีนักเรียนเยอะก็ได้เงินเยอะ ถ้ามีนักเรียนน้อยก็ได้น้อย ทั้งที่โรงเรียนขนาดเล็กมีปัญหาหนักกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่เสียด้วยซ้ำ เช่น มีนักเรียนยากจนมากกว่า โอกาสในการระดมทรัพยากรก็ยากกว่า ยิ่งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล การซ่อม สร้าง ปรับปรุงโรงเรียนยิ่งยากลำบากและมีต้นทุนสูง ทั้งค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายของแรงงาน หากรัฐยังคงวางแผนงบประมาณเช่นเดิม หรือเลือกให้อย่างเท่าเทียมกันทั้งประเทศ จะยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น การจัดสรรงบประมาณจึงควรมอบให้โรงเรียนที่มีเด็กยากจน และประสบปัญหาขาดแคลนทรัพยากรเสียก่อน

ณัฐพงศ์ ศิริชนะ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก และอนุกรรมการการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ กสศ. กล่าวเสริมว่า การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยวิธีปกตินั้นมีความยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขปัญหาด้วยระบบราชการที่ต้องได้รับการสั่งการจากข้างบน ที่เปรียบเสมือนการตัดเสื้อตัวเดียวใช้ทั้งประเทศ ในขณะที่ปัญหาความเหลื่อมล้ำของแต่ละจังหวัดที่พบเจอนั้นมีความแตกต่าง

ภูมิลำเนา และสภาพแวดล้อมของผู้เรียน

Useful cookies enable to accomplish selected functionalities ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา like sharing the articles of the website on social media platforms, collect feedbacks, and various 3rd-social gathering functions. Efficiency Performance

สาเหตุความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

โครงการทุนนวัตกรรมสายอาชีพชั้นสูง ให้ทุนเรียนต่อ ปวช. ปวส. สำหรับนักเรียนยากจนที่เรียนดี

สถิติของความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย

ส่วนศึกษาธิการจังหวัดต้องพยายามให้แต่ละจังหวัดเขียนแผนเรื่องการศึกษาให้ขับเคลื่อนได้ มองให้เห็นว่าเราทำอะไรได้และในความร่วมมือของเราทำอะไรได้อีก และบุคลากรต้องพึงระลึกถึงหน้าที่อยู่เสมอว่าไม่ใช่แค่ใช้สถานศึกษาเป็นบันไดไต่ขึ้นสู่ความเจริญก้าวหน้า แต่ระบบต้องอยู่ได้ด้วยตัวเอง อย่ายึดโยงที่ตัวบุคคล เพราะความยั่งยืนของการศึกษาชาติไม่ได้เริ่มที่นโยบายแต่เริ่มจากเราทุกคน การจัดการศึกษาที่ดีต้องทำความเข้าใจกับความยั่งยืน รวมถึงหาความร่วมมือกับทุกหน่วยงาน และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือออกจากห้องประชุมไปต้องลงมือทำทันทีถึงจะยั่งยืน ถ้าการศึกษาในประเทศเราดีก็แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำได้

โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาสําหรับนักเรียนในพืนที่ห่างไกลเป็นครูรุ่นใหม่เพือพัฒนาคุณภาพโรงเรียนของชุมชน (ครูรัก(ษ์)ถิ่น)

แผนกลยุทธ์/แผนการดำเนินงาน แผนกลยุทธ์

“รับน้องทำไม”: ความเป็นพี่น้องในระบบโซตัส อัตลักษณ์และการเมืองที่ปลูกฝังในสังคมไทย

Report this page